การพัฒนาเทคนิคมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์เพื่อตรวจวิเคราะห์ Shiga-toxin producing Escherichia coli (STEC), Listeria monocytogenes และ Salmonella spp. ในอาหาร
website ? http://www.arda.or.th
Facebook ?https://www.facebook.com/ardathai
Line ✅https://line.me/R/ti/p/%40yhv6070r
ARDA ? https://www.facebook.com/kasetkaoklaiARDA2017
โครงการในการพัฒนาเทคนิคมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์เพื่อตรวจวิเคราะห์ shiga-toxin Producing Escherichia Coli (STEC), Listeria monocytogenes และ Salmonella spp. ในอาหาร
ส่วนโครงการที่ต่อเนื่องมาคือ โครงการการตรวจสอบความถูกต้องเชิงคุณภาพของมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์ ที่พัฒนาขึ้นร่วมกับอาหารเลี้ยงเชื้อเดี่ยวเพื่อตรวจสอบ shiga-toxin Producing Escherichia Coli (STEC), Listeria monocytogenes และ Salmonella spp.ในอาหาร ภายใต้ห้องปฏิบัติการดำเนินการในปี พ.ศ. 2561
เทคนิควิธีการดังกล่าวนี้คือ พัฒนาขึ้นจากการที่มีข้อจำกัดจากชุดตรวจสอบกับวิธีมาตรฐาน ปัจจุบันที่เราพบว่าวิธีตรวจสอบของเชื้อเป้าหมายที่เราสนใจ ส่วนใหญ่แล้วมันจะแยกการในการตรวจสอบแต่ละเชื้อเป้าหมาย ส่วนวิธีมาตรฐานก็จะใช้เวลาค่อนข้างนาน มีขั้นตอนที่ซับซ้อนเวลาประมาณ 3-5 วันจะทราบผล
จากจุดบกพร่องตรงนี้จึงมองว่าจะสามารถพัฒนาวิธีการใดที่จะสามารถตรวจสอบเชื้อเป้าหมาย 3 ตัวต่างๆที่เราสนใจได้พร้อมกัน จึงได้เห็นว่าวิธีการมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์นี้เป็นวิธีการหนึ่งที่เหมาะสมในการที่จะตรวจสอบเชื้อเป้าหมายทั้ง 3 ชนิดพร้อมกันได้ คือเราต้องการตรวจวิเคราะห์เชื้อเป้าหมายทั้ง 3 ในตัวอย่างอาหาร โดยให้ความสนใจไปที่เนื้อสัตว์สด เติมลงไปในอาหารเลี้ยงเชื้อเดี่ยว จากนั้นนำไปตีป่นและบ่มเพาะ ในที่สภาวะที่เราได้ศึกษาและเหมาะสมก็คือประมาณ 37 องศา เป็นเวลา 24 ชั่วโมง
จะพบว่าเชื้อเป้าหมายมักจะมีปริมาณปนเปื้อนในอาหารค่อนข้างต่ำ จึงต้องบ่มในสภาวะดังกล่าวมันก็จะเพิ่มปริมาณมากขึ้นให้เพียงพอที่จะสามารถที่จะสกัดเอา DNA ของมาตรวจสอบโดยวิธีมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์ได้
โดยเทคนิคมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์คือการใช้เครื่องของ CCR คือจะมีการควบคุมเรื่องของการขึ้นลงของอุณหภูมิ เซ็ทจำนวนรอบ เพื่อเตรียมแบบการเพิ่มปริมาณของ DNA เป้าหมาย ใช้ในลักษณะของอุปกรณ์เครื่องมือที่สามารถควบคุมการขึ้นลงของอุณหภูมิได้ และผ่านขั้นตอนของ CCR
เมื่อเพิ่มปริมาณเรียบร้อยแล้วเราก็สามารถที่จะเอามาทำงานโดยการใช้เทคนิคเจลอิเล็กโทรโฟริซิส คือการที่จะวิเคราะห์ดูขนาดของ DNA เป้าหมายที่เกิดขึ้นภายใต้การใช้รังสี UV ก็จะเห็นเป้าหมายของแบคทีเรียที่เราสนใจอยู่เกิดขึ้น ถ้ามันมีการปนเปื้อนในตัวอย่างอาหาร
#มัลติเพล็กซ์พีซีอาร์
#แบคทีเรีย
#สารปนเปื้อน
#วิจัย
#สวก.
website ? http://www.arda.or.th
Facebook ?https://www.facebook.com/ardathai
Line ✅https://line.me/R/ti/p/%40yhv6070r
ARDA ? https://www.facebook.com/kasetkaoklaiARDA2017
โครงการในการพัฒนาเทคนิคมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์เพื่อตรวจวิเคราะห์ shiga-toxin Producing Escherichia Coli (STEC), Listeria monocytogenes และ Salmonella spp. ในอาหาร
ส่วนโครงการที่ต่อเนื่องมาคือ โครงการการตรวจสอบความถูกต้องเชิงคุณภาพของมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์ ที่พัฒนาขึ้นร่วมกับอาหารเลี้ยงเชื้อเดี่ยวเพื่อตรวจสอบ shiga-toxin Producing Escherichia Coli (STEC), Listeria monocytogenes และ Salmonella spp.ในอาหาร ภายใต้ห้องปฏิบัติการดำเนินการในปี พ.ศ. 2561
เทคนิควิธีการดังกล่าวนี้คือ พัฒนาขึ้นจากการที่มีข้อจำกัดจากชุดตรวจสอบกับวิธีมาตรฐาน ปัจจุบันที่เราพบว่าวิธีตรวจสอบของเชื้อเป้าหมายที่เราสนใจ ส่วนใหญ่แล้วมันจะแยกการในการตรวจสอบแต่ละเชื้อเป้าหมาย ส่วนวิธีมาตรฐานก็จะใช้เวลาค่อนข้างนาน มีขั้นตอนที่ซับซ้อนเวลาประมาณ 3-5 วันจะทราบผล
จากจุดบกพร่องตรงนี้จึงมองว่าจะสามารถพัฒนาวิธีการใดที่จะสามารถตรวจสอบเชื้อเป้าหมาย 3 ตัวต่างๆที่เราสนใจได้พร้อมกัน จึงได้เห็นว่าวิธีการมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์นี้เป็นวิธีการหนึ่งที่เหมาะสมในการที่จะตรวจสอบเชื้อเป้าหมายทั้ง 3 ชนิดพร้อมกันได้ คือเราต้องการตรวจวิเคราะห์เชื้อเป้าหมายทั้ง 3 ในตัวอย่างอาหาร โดยให้ความสนใจไปที่เนื้อสัตว์สด เติมลงไปในอาหารเลี้ยงเชื้อเดี่ยว จากนั้นนำไปตีป่นและบ่มเพาะ ในที่สภาวะที่เราได้ศึกษาและเหมาะสมก็คือประมาณ 37 องศา เป็นเวลา 24 ชั่วโมง
จะพบว่าเชื้อเป้าหมายมักจะมีปริมาณปนเปื้อนในอาหารค่อนข้างต่ำ จึงต้องบ่มในสภาวะดังกล่าวมันก็จะเพิ่มปริมาณมากขึ้นให้เพียงพอที่จะสามารถที่จะสกัดเอา DNA ของมาตรวจสอบโดยวิธีมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์ได้
โดยเทคนิคมัลติเพล็กซ์พีซีอาร์คือการใช้เครื่องของ CCR คือจะมีการควบคุมเรื่องของการขึ้นลงของอุณหภูมิ เซ็ทจำนวนรอบ เพื่อเตรียมแบบการเพิ่มปริมาณของ DNA เป้าหมาย ใช้ในลักษณะของอุปกรณ์เครื่องมือที่สามารถควบคุมการขึ้นลงของอุณหภูมิได้ และผ่านขั้นตอนของ CCR
เมื่อเพิ่มปริมาณเรียบร้อยแล้วเราก็สามารถที่จะเอามาทำงานโดยการใช้เทคนิคเจลอิเล็กโทรโฟริซิส คือการที่จะวิเคราะห์ดูขนาดของ DNA เป้าหมายที่เกิดขึ้นภายใต้การใช้รังสี UV ก็จะเห็นเป้าหมายของแบคทีเรียที่เราสนใจอยู่เกิดขึ้น ถ้ามันมีการปนเปื้อนในตัวอย่างอาหาร
#มัลติเพล็กซ์พีซีอาร์
#แบคทีเรีย
#สารปนเปื้อน
#วิจัย
#สวก.