อาหารว่างจากเศษเหลือของกระบวนการแปรรูปเนื้อปลา RAINS for Thailand Food Valley ภาคกลาง ปี 2562 สวก. ตอบโจทย์การผลิตอาหารที่ยั่งยืนด้วยการลดขยะอาหาร (Food Wastes) และช่วยขับเคลื่อนธุรกิจเศรษฐกิจเขียว (BCG)
โครงการวิจัยนี้จะใช้กระดูกปลาแซลมอนเนื่องจากมีปริมาณเศษเหลือทิ้งในโรงงานประเทศไทย จำนวนมาก มาเข้าสู่กระบวนการแปรรูปและปรับปรุงเนื้อสัมผัสเพื่อให้ได้เป็นผลิตภัณฑ์อาหารเสริมแคลเซียมตามความต้องการของตลาด
0:10 อาจารย์กนกรัตน์ ลิมปิโสภณ อาจารย์ประจำภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นหัวหน้าโครงการผลิตภัณฑ์อาหารจากเศษเหลือของกระบวนการแปรรูปเนื้อปลา
0:30 โครงการอยู่ภายใต้โครงการ Food Valley ภาคกลาง ปี 2562 โครงการนี้สนับสนุนโดย สวก. และ บริษัท การดิเนียร์ อิมพอร์ต แอนด์ เอ็กซ์พอร์ต จำกัด
0:40 จุดเริ่มต้นของโครงการก็คือนำเศษเหลือของกระบวนการแปรรูปเนื้อปลาโดยเฉพาะอย่างยิ่งกระดูกปลา ซึ่งพบว่ามี 30-50 เปอร์เซ็นต์ของเนื้อปลา ในแต่ละวันจะมีเศษเหลืออยู่วันละหลายตัน
1:18 กระดูกปลาเป็นแคลเซียมที่ดี สามารถนำมาผลิตเป็นอาหารให้กับผู้บริโภคได้ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของโครงการนี้ ในโครงการนี้ได้ทำวิจัยร่วมกับ ดร.วราภรณ์ ประเสริฐ จากสถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
1:40 ได้คิดค้นโดยใช้วิธีต่างๆ ทำให้สามารถผลิตเป็นผลิตภัณฑ์อาหารเสริมแคลเซียม มีแคลเซียมสูง ประโยชน์ของโครงการนี้ก็คือผลิตภัณฑ์อาหารที่ได้ทำการแปรรูปมาแล้ว เป็นแหล่งแคลเซียมที่มีปริมาณแคลเซียมสูง แหล่งแคลเซียมที่มาจากกระดูกปลา
2:00 วิจัยพบว่าสามารถดูดซึมภายในร่างกายของเราได้ดี หรืออาจจะดีกว่าแคลเซียมอาหารเสริม
2:24 เรียนเชิญผู้ประกอบการนำงานวิจัยไปต่อยอดการทำงาน และนำงานวิจัยที่มีมาเข้าร่วมโครงการ
สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
website ? http://www.arda.or.th
Facebook ?https://www.facebook.com/ardathai
Line ✅https://line.me/R/ti/p/%40yhv6070r
ARDA ? https://www.facebook.com/kasetkaoklaiARDA2017
#แปรรูปเนื้อปลา#กระดูกปลา #อาหารเสริม
#สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร #arda #วิจัยและพัฒนา #สวก.
#FoodARDA #RAINSKU #Food Security #BCG
โครงการวิจัยนี้จะใช้กระดูกปลาแซลมอนเนื่องจากมีปริมาณเศษเหลือทิ้งในโรงงานประเทศไทย จำนวนมาก มาเข้าสู่กระบวนการแปรรูปและปรับปรุงเนื้อสัมผัสเพื่อให้ได้เป็นผลิตภัณฑ์อาหารเสริมแคลเซียมตามความต้องการของตลาด
0:10 อาจารย์กนกรัตน์ ลิมปิโสภณ อาจารย์ประจำภาควิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการอาหารคณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาลัยเกษตรศาสตร์ เป็นหัวหน้าโครงการผลิตภัณฑ์อาหารจากเศษเหลือของกระบวนการแปรรูปเนื้อปลา
0:30 โครงการอยู่ภายใต้โครงการ Food Valley ภาคกลาง ปี 2562 โครงการนี้สนับสนุนโดย สวก. และ บริษัท การดิเนียร์ อิมพอร์ต แอนด์ เอ็กซ์พอร์ต จำกัด
0:40 จุดเริ่มต้นของโครงการก็คือนำเศษเหลือของกระบวนการแปรรูปเนื้อปลาโดยเฉพาะอย่างยิ่งกระดูกปลา ซึ่งพบว่ามี 30-50 เปอร์เซ็นต์ของเนื้อปลา ในแต่ละวันจะมีเศษเหลืออยู่วันละหลายตัน
1:18 กระดูกปลาเป็นแคลเซียมที่ดี สามารถนำมาผลิตเป็นอาหารให้กับผู้บริโภคได้ ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของโครงการนี้ ในโครงการนี้ได้ทำวิจัยร่วมกับ ดร.วราภรณ์ ประเสริฐ จากสถาบันค้นคว้าและพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหาร
1:40 ได้คิดค้นโดยใช้วิธีต่างๆ ทำให้สามารถผลิตเป็นผลิตภัณฑ์อาหารเสริมแคลเซียม มีแคลเซียมสูง ประโยชน์ของโครงการนี้ก็คือผลิตภัณฑ์อาหารที่ได้ทำการแปรรูปมาแล้ว เป็นแหล่งแคลเซียมที่มีปริมาณแคลเซียมสูง แหล่งแคลเซียมที่มาจากกระดูกปลา
2:00 วิจัยพบว่าสามารถดูดซึมภายในร่างกายของเราได้ดี หรืออาจจะดีกว่าแคลเซียมอาหารเสริม
2:24 เรียนเชิญผู้ประกอบการนำงานวิจัยไปต่อยอดการทำงาน และนำงานวิจัยที่มีมาเข้าร่วมโครงการ
สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
website ? http://www.arda.or.th
Facebook ?https://www.facebook.com/ardathai
Line ✅https://line.me/R/ti/p/%40yhv6070r
ARDA ? https://www.facebook.com/kasetkaoklaiARDA2017
#แปรรูปเนื้อปลา#กระดูกปลา #อาหารเสริม
#สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร #arda #วิจัยและพัฒนา #สวก.
#FoodARDA #RAINSKU #Food Security #BCG
เรื่องที่เกี่ยวข้อง