โครงการการสังเคราะห์มอนอกลีเซอไรด์แบบเลือกสรรในเครื่องปฏิกรณ์แบบช่องจุลภาค และโครงการนึงคือการผลิตมอนอกลีเซอไรด์แบบเลือกสรรด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาคาร์บอนชนิดกรดในเครื่องปฏิกรณ์แบบช่องจุลภาค
ความสำเร็จของโครงการก็คือเราสามารถพัฒนากระบวนการผลิตมอนอกลีเซอไรด์แบบเลือกสรรคือมอนอกลีเซอไรด์ที่มีความบริสุทธิ์สูงจากกรดไขมันปาล์ม โดยนำเอาเทคโนโลยีเครื่องปฏิกรณ์แบบช่องจุลภาคมาใช้ ทำให้เราสามารถลดระยะเวลาการผลิตมอนอกลีเซอไรด์ได้ สามารถลดต้นทุนในการผลิตมอนอกลีเซอไรด์ นอกจากนี้เรายังได้พัฒนาคาร์บอนชนิดกรดซึ่งเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดใหม่สำหรับการผลิตมอนอกลีเซอไรด์ด้วย โดยใช้วัตถุดิบก็คือคาร์บอนจากถ่านกะลามะพร้าวที่ผลิตได้ในประเทศ ทำให้สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตมอนอกลีเซอไรด์
ขั้นตอนเริ่มจากเปิดการทำงานและ Set up ระบบของ High Pressure Switch แล้ว จึงดูดสารตั้งต้น คือ ไขมันปาล์มและกลีเซอรอล แล้วทำการประกอบตัวเครื่องปฏิกรณ์แบบช่องจุลภาคและเพิ่มตัวเร่งปฏิกิริยา คือ ion Exchange resin และตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดขดที่พัฒนาขึ้นมาในโครงการนี้ และสายปั๊มจุ่มลงในน้ำมันเพื่อทำปฏิกิริยาต่อไป จนได้ product สุดท้ายออกมา
หัวหน้าโครงการ ผศ.ดร.ชวลิต งามจรัสศรีวิชัย คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การผลิตมอนอกลีเซอไรด์บริสุทธิ์สูง จากกรดไขมันปาล์ม | สวก.
#มอนอกลีเซอไรด์ #กรดไขมันปาล์ม #เครื่องปฏิกรณ์แบบช่องจุลภาค #งานวิจัย #สวก.
website ? http://www.arda.or.th
Facebook ?https://www.facebook.com/ardathai
Line ✅https://line.me/R/ti/p/%40yhv6070r
ARDA ? https://www.facebook.com/kasetkaoklaiARDA2017
ความสำเร็จของโครงการก็คือเราสามารถพัฒนากระบวนการผลิตมอนอกลีเซอไรด์แบบเลือกสรรคือมอนอกลีเซอไรด์ที่มีความบริสุทธิ์สูงจากกรดไขมันปาล์ม โดยนำเอาเทคโนโลยีเครื่องปฏิกรณ์แบบช่องจุลภาคมาใช้ ทำให้เราสามารถลดระยะเวลาการผลิตมอนอกลีเซอไรด์ได้ สามารถลดต้นทุนในการผลิตมอนอกลีเซอไรด์ นอกจากนี้เรายังได้พัฒนาคาร์บอนชนิดกรดซึ่งเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดใหม่สำหรับการผลิตมอนอกลีเซอไรด์ด้วย โดยใช้วัตถุดิบก็คือคาร์บอนจากถ่านกะลามะพร้าวที่ผลิตได้ในประเทศ ทำให้สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตมอนอกลีเซอไรด์
ขั้นตอนเริ่มจากเปิดการทำงานและ Set up ระบบของ High Pressure Switch แล้ว จึงดูดสารตั้งต้น คือ ไขมันปาล์มและกลีเซอรอล แล้วทำการประกอบตัวเครื่องปฏิกรณ์แบบช่องจุลภาคและเพิ่มตัวเร่งปฏิกิริยา คือ ion Exchange resin และตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดขดที่พัฒนาขึ้นมาในโครงการนี้ และสายปั๊มจุ่มลงในน้ำมันเพื่อทำปฏิกิริยาต่อไป จนได้ product สุดท้ายออกมา
หัวหน้าโครงการ ผศ.ดร.ชวลิต งามจรัสศรีวิชัย คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การผลิตมอนอกลีเซอไรด์บริสุทธิ์สูง จากกรดไขมันปาล์ม | สวก.
#มอนอกลีเซอไรด์ #กรดไขมันปาล์ม #เครื่องปฏิกรณ์แบบช่องจุลภาค #งานวิจัย #สวก.
website ? http://www.arda.or.th
Facebook ?https://www.facebook.com/ardathai
Line ✅https://line.me/R/ti/p/%40yhv6070r
ARDA ? https://www.facebook.com/kasetkaoklaiARDA2017
เรื่องที่เกี่ยวข้อง